Book,Page,LineNumber,Text 44,0046,001,(วันละ) ๕๐๐. ได้มีสลากที่ทำด้วยงา ๕๐๐ ในกาลต่อมา สกุลนั้นถูก 44,0046,002,ความจนครอบงำโดยลำดับ. ทาริกาคนหนึ่งในสกุลนั้น ไม่อาจให้ 44,0046,003,เกินกว่า ๑ สลากได้. ฝ่ายนาง ภายหลังไปสู่เสตวาหนรัฐ ได้ให้ 44,0046,004,สลากนั้นด้วยข้าวเปลือกที่ตนกวาดลานได้. พระเถระรูปหนึ่งทูลแด่พระ- 44,0046,005,ราชาแล้ว. พระราชาทรงนำนางมาตั้งไว้ในตำแหน่งอัครมเหสี. จำเดิม 44,0046,006,แต่นั้นมา พระนางได้ให้สลาก ๕๐๐ ดำเนินต่อไปอีก. 44,0046,007,"[๓๙] ฎีกากูฏทันตสูตรนั้นว่า ""ทานที่บุคคลทำให้ยั่งยืน คือ" 44,0046,008,ให้มั่งคง ไม่ขาดสายแล้วพึงให้ ชื่อว่าธุวทาน. ทานที่บุคคลอาศัย 44,0046,009,ลำดับสกุล คือคล้อยตามแล้วพึงให้ ชื่อว่ายัญตามสกุล. เหตุนั้น 44,0046,010,พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวคำว่า 'อมฺหากํ' เป็นต้น. ทาน 44,0046,011,ที่กำหนด คือนิยมให้เป็นไปด้วยสามารถประเพณี ชื่อว่านิพันธทาน. 44,0046,012,สลากเป็นที่จดชื่อทายกทั้งหลายที่ให้เป็นไปด้วยงาช้าง ชื่อว่าสลากงา. 44,0046,013,"บทว่า รฺโ คือ แด่พระเจ้าเสตวาหนะ.""" 44,0046,014,กถาว่าด้วยอามิสทาน จบ. 44,0046,015,"[๔๐] อรรถกถาทุกนิบาต อังคุตตรนิกายว่า ""บทว่า ธมฺมทานํ" 44,0046,016,ความว่า พระธรรมกถึกบางรูปในศาสนานี้ กล่าวปฏิปทาเป็นเหตุให้ถึง 44,0046,017,"อมตะแล้วให้ นี้ชื่อธรรมทาน.""" 44,0046,018,"ฎีกาทุกนิบาต อังคุตตรนิกายนั้นว่า ""บทว่า อมตปฺปตฺติปฺ-" 44,0046,019,"ปฏิปทํ ได้แก่ ปฏิปาอันชอบซึ่งเป็นเหตุถึงอมตะ.""" 44,0046,020,"[๔๑] อรรถกถาอิติวุตตกะว่า ""พระธรรมถกถึกบางรูปในศาสนา" 44,0046,021, 44,0046,022,๑. มโน. ปู. ๒/๗๖ ๒. ป. ที. ๔๐๕.