Book,Page,LineNumber,Text 07,0023,001,อ อาคม เช่น ครุ=เอสฺสติ เป็น อรุเมสฺสติ 07,0023,002,"ท "" "" อตฺต=อตฺโถ "" อตฺตทตฺโถ " 07,0023,003,"น "" "" อิโต=อายติ "" อิโตนายติ" 07,0023,004,"ต "" "" ตสฺมา=อิมา "" ตสฺมาติห" 07,0023,005,"ร "" "" สพฺภิ=เอว "" สพฺภิเรว " 07,0023,006,"ฬ "" "" ฉ=อายตนํ "" ฉฬายตนํ." 07,0023,007,อนึ่ง ในสัททานีติ ว่า ลง ห อาคมก็ได้ เช่น สุ=อุชุ เป็น สุหุชุ 07,0023,008,สุ=อุฏฺ€ิตํ เป็น สุหุฏ€ิตํ. (ว อาคม ไม่มีศัพท์หน้าก็ลงอาคมได้). 07,0023,009,ปกติพยัญชนะ นั้น มีวิธีทำอย่างเดียวกันกับปกติสระ คือ 07,0023,010,แม้จะทำตามสนธิกิริโยปกรณ์อื่น ๆ เช่นจะลบหรือแปลงเป็นต้นได้ 07,0023,011,แต่ก็ไม่ทำ คงรูปได้ตามเดิมนั่นอง เช่น สาธุ หากจะแปลงเป็น สาหุ 07,0023,012,ก็ได้ แต่ไม่แปลง คงรูปเป็น สาธุ อยู่อย่างเดิม ดังนี้เป็นต้น. 07,0023,013,สญฺโโค มี ๒ คือ ซ้อนพยัญชนะที่มีรูปเหมือนกันอย่าง ๑ 07,0023,014,ซ้อนพยัญชนะที่มีรูปไม่เหมือนกันอย่าง ๑ 07,0023,015,อย่างต้น ได้แก่พยัญชนะที่ ๑. และที่ ๓ ในวรรคทั้ง ๕ ซึ่งซ้อน 07,0023,016,หน้าตัวเองได้ อุ. พยัญชนะที่ ๑ ซ้อนหน้าพยัญชนะที่ ๑ เช่น ทุ=กร 07,0023,017,"เป็นทุกฺกรํ, ทุ=จริตํ, เป็น ทุจฺจริตํ, รตน=ตยํ เป็น รตนตฺตยํ" 07,0023,018,"อิธ=ปโมทติ เป็น อิธปฺปโมทติ, และพยัญชนะที่สุดวรรคบางตัว เช่น" 07,0023,019,"ปริ=าตํ เป็น ปริญฺาตํ, อุ=มาโท เป็น อุมฺมาโท." 07,0023,020,อย่างที่ ๒ พึงเห็นตัวอย่างในพยัญชนะที่ ๑ ซึ่งซ้อนหน้าพยัญชนะ