Book,Page,LineNumber,Text 01,0025,001,"เป็น ปุลฺลิงฺคํ, สํ-ลกฺขณา เป็น สลฺลกฺขณา เป็นต้น, ถ้าสระอยู่" 01,0025,002,เบื้องปลาย แปลงนิคคหิตเป็น ม และ ท ดังนี้ ตํ-อหํ เป็น ตมหํ 01,0025,003,"พฺรูมิ พฺราหฺมณํ, เอตํ-อโวจ เป็น เอตทโวจ." 01,0025,004,[ ๓๓ ] นิคคหิตอาคมนั้นดังนี้ เมื่อสระก็ดี พยัญชนะก็ดี อยู่ 01,0025,005,เบื้องหลัง ลงนิคคหิตได้บ้าง อุ. ว่า จกฺขุ-อุทปาทิ เป็น จกฺขุํ- 01,0025,006,"อุทปาทิ, อว-สิโร เป็น อวํสิโร เป็นต้น." 01,0025,007,[ ๓๔ ] ปกตินิคคหิตนั้น ก็ไม่วิเศษอันใด ควรจะลบหรือแปลง 01,0025,008,หรือลงนิคคหิตอาคมได้ ไม่ทำอย่างนั้น ปกติไว้ตามรูปเดิม เหมือน 01,0025,009,คำว่า ธมฺมํ จเร ก็คงไว้ตามเดิม ไม่อาเทสนิคคหิตเป็น  ให้เป็น 01,0025,010,ธมฺมฺจเร เป็นต้น เท่านั้น. 01,0025,011,วิธีทำสนธิในบาลีภาษานั้น ท่านไม่นิยมให้เป็นแบบเดียว ซึ้ง 01,0025,012,จะยักเยื้องเป็นอย่างอื่นไม่ได้ เหมือนวิธีสนธิในสันสกฤตภาษา ผ่อน 01,0025,013,ให้ตามอัธยาศัยของผู้ทำ จะน้อมไปให้ต้องตามสนธิกิริโยปกรณ์ 01,0025,014,อย่างหนึ่งอย่างใดที่ตนชอบใจ ถ้าไม่ผิดแล้ว ก็เป็นอันใช้ได้ ส่วน 01,0025,015,ในสันสกฤตนั้น มีวิธีข้อบังคับเป็นแบบเดียว ยักเยื้องเป็นอย่างอื่น 01,0025,016,ไปไม่ได้ จะเลือกเอาวิธีนั้น ซึ่งจะใช้ได้ในบาลีภาษามาเขียนไว้ที่นี้ 01,0025,017,เพื่อจะได้เป็นเครื่องประดับปัญญาของผู้ศึกษา แต่พอสมควร.